นิยามของการส่งข้อมูล การสื่อสารข้อมูล
หมายถึง การโอนถ่าย (Transmission)
ข้อมูล หรือการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างต้นทางกับปลายทาง โดยใช้อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์หรือเครื่องคอมพิวเตอร์
ซึ่งมีตัวกลาง เช่น ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์สำหรับควบคุมการส่งและการไหลของข้อมูลจากต้นทางไปยัง
ปลายทาง
การส่งข้อมูลในระบบเครือข่าย สามารถทำได้ 2 ลักษณะ คือ
การส่งแบบขนาน และการส่งแบบอนุกรม
1.แบ่งตามรูปแบบการส่งข้อมูล
1) การส่งแบบขนาน (Parallel) เป็นการสื่อสารข้อมูลที่สามารถส่งข้อมูลจากผู้ส่งไปยังผู้รับ โดยทำการส่งข้อมูล หลายๆ ชุดไปพร้อมกันโดยวิธีการนี้จะสามารถส่งข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว แต่จะสิ้นเปลืองช่องทางในการส่งข้อมูลเป็นจำนวนมาก
2) การส่งแบบอนุกรม (Serial) เป็นการสื่อสารข้อมูลที่สามารถส่งข้อมูลจากผู้ส่งไปยังผู้รับ โดยทำการส่งข้อมูลไปในช่องทางเดียวกันทีละชุดข้อมูลโดยวิธีการนี้ จะส่งข้อมูลได้ช้ากว่า แต่จะใช้ช่องทางการส่งข้อมูลน้อยกว่าวิธีการส่งแบบขนาน
1) การส่งแบบขนาน (Parallel) เป็นการสื่อสารข้อมูลที่สามารถส่งข้อมูลจากผู้ส่งไปยังผู้รับ โดยทำการส่งข้อมูล หลายๆ ชุดไปพร้อมกันโดยวิธีการนี้จะสามารถส่งข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว แต่จะสิ้นเปลืองช่องทางในการส่งข้อมูลเป็นจำนวนมาก
2) การส่งแบบอนุกรม (Serial) เป็นการสื่อสารข้อมูลที่สามารถส่งข้อมูลจากผู้ส่งไปยังผู้รับ โดยทำการส่งข้อมูลไปในช่องทางเดียวกันทีละชุดข้อมูลโดยวิธีการนี้ จะส่งข้อมูลได้ช้ากว่า แต่จะใช้ช่องทางการส่งข้อมูลน้อยกว่าวิธีการส่งแบบขนาน
ลักษณะการทำงาน
ข้อมูล หรือสารสนเทศที่ใช้กันอยู่ทั่วไปในระบบสื่อสาร เช่น ระบบโทรศัพท์ จะมีลักษณะของสัญญาณเป็นคลื่นแบบต่อเนื่องที่เราเรียกว่า "สัญญาณอนาลอก" แต่ ในระบบคอมพิวเตอร์จะแตกต่างไป เพราะระบบคอมพิวเตอร์ใช้ระบบสัญญาณไฟฟ้าสูงต่ำสลับกัน เป็นสัญญาณที่ไม่ต่อเนื่อง เรียกว่า "สัญญาณดิจิตอล" ซึ่งข้อมูลเหล่านั้นจะส่งผ่านสายโทรศัพท์ เมื่อ เราต้องการส่งข้อมูลจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังเครื่องอื่น ๆ ผ่านระบบโทรศัพท์ ก็ต้องอาศัยอุปกรณ์ช่วยแปลงสัญญาณเสมอ ซึ่งมีชื่อเรียกว่า "โมเด็ม" (Modem)
การส่งสัญญาณข้อมูล หรือข่าวสารต่าง ๆ สามารถทำได้ 2 ลักษณะดังนี้
• การส่งสัญญาณแบบอนาลอก (Analog Transmission)
การ ส่งสัญญาณแบบอนาลอกจะไม่คำนึงถึงสิ่งต่าง ๆ ที่รวมอยู่ในสัญญาณเลย โดยสัญญาณจะแทนข้อมูล อนาลอก เช่น สัญญาณเสียง เป็นต้น ซึ่งสัญญาณอนาลอกที่ส่งออกไปนั้นเมื่อระยะห่างออกไปสัญญาณก็จะอ่อนลงเรื่อย ๆ ทำให้สัญญาณไม่ค่อยดี ดังนั้นเมื่อระยะห่างไกลออกไปสามารถแก้ไขได้โดยใช้เครื่องขยายสัญญาณ (Amplifier) แต่ ก็มีผลทำให้เกิดสัญญาณรบกวน (Noise) ขึ้น ยิ่งระยะไกลมากขึ้นสัญญาณรบกวนก็เพิ่มมากขึ้น ซึ่งสามารถแก้ไขสัญญาณรบกวนนี้ได้โดยใช้เครื่องกรองสัญญาณ (Filter) เพื่อกรองเอาสัญญาณรบกวนออกไป
ข้อมูล หรือสารสนเทศที่ใช้กันอยู่ทั่วไปในระบบสื่อสาร เช่น ระบบโทรศัพท์ จะมีลักษณะของสัญญาณเป็นคลื่นแบบต่อเนื่องที่เราเรียกว่า "สัญญาณอนาลอก" แต่ ในระบบคอมพิวเตอร์จะแตกต่างไป เพราะระบบคอมพิวเตอร์ใช้ระบบสัญญาณไฟฟ้าสูงต่ำสลับกัน เป็นสัญญาณที่ไม่ต่อเนื่อง เรียกว่า "สัญญาณดิจิตอล" ซึ่งข้อมูลเหล่านั้นจะส่งผ่านสายโทรศัพท์ เมื่อ เราต้องการส่งข้อมูลจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังเครื่องอื่น ๆ ผ่านระบบโทรศัพท์ ก็ต้องอาศัยอุปกรณ์ช่วยแปลงสัญญาณเสมอ ซึ่งมีชื่อเรียกว่า "โมเด็ม" (Modem)
การส่งสัญญาณข้อมูล หรือข่าวสารต่าง ๆ สามารถทำได้ 2 ลักษณะดังนี้
• การส่งสัญญาณแบบอนาลอก (Analog Transmission)
การ ส่งสัญญาณแบบอนาลอกจะไม่คำนึงถึงสิ่งต่าง ๆ ที่รวมอยู่ในสัญญาณเลย โดยสัญญาณจะแทนข้อมูล อนาลอก เช่น สัญญาณเสียง เป็นต้น ซึ่งสัญญาณอนาลอกที่ส่งออกไปนั้นเมื่อระยะห่างออกไปสัญญาณก็จะอ่อนลงเรื่อย ๆ ทำให้สัญญาณไม่ค่อยดี ดังนั้นเมื่อระยะห่างไกลออกไปสามารถแก้ไขได้โดยใช้เครื่องขยายสัญญาณ (Amplifier) แต่ ก็มีผลทำให้เกิดสัญญาณรบกวน (Noise) ขึ้น ยิ่งระยะไกลมากขึ้นสัญญาณรบกวนก็เพิ่มมากขึ้น ซึ่งสามารถแก้ไขสัญญาณรบกวนนี้ได้โดยใช้เครื่องกรองสัญญาณ (Filter) เพื่อกรองเอาสัญญาณรบกวนออกไป
• การส่งสัญญาณแบบดิจิตอล (Digital Transmission)
การ ส่งสัญญาณแบบดิจิตอลจะใช้เมื่อต้องการข้อมูลที่ถูกต้องชัดเจนแน่นอน ดังนั้นจึงจำเป็นต้องสนใจรายละเอียดทุกอย่างที่บรรจุมากับสัญญาณ ใน ทำนองเดียวกันกับการส่งสัญญาณแบบอนาลอก กล่าวคือ เมื่อระยะทางในการส่งมากขึ้น สัญญาณดิจิตอลก็จะจางลง ซึ่งสามารถแก้ไขได้โดยใช้อุปกรณ์ทำสัญญาณซ้ำ หรือรีพีตเตอร์ (Repeater)
Credit
Credit 4.นิยามของการส่งข้อมูลและลักษณะการทำงาน หน้า 4
- การสื่อสารข้อมูล
Credit
บทที่ 6 การสื่อสารโทรคมนาคมและเครื่อข่าย
JTM Hub - Casino Jobs in NJ & PA - KTRB
ตอบลบJTM 울산광역 출장마사지 Hub Jobs in 시흥 출장마사지 NJ & PA. 시흥 출장샵 View Jobs, Employment, & 진주 출장샵 Phone number 충주 출장샵 for JTM Hub, including reviews, ratings, and more.